ปี, พ.ศ. 2566, สิ่งพิมพ์, สื่อ ยาวิพากษ์ฉบับที่ 53 : สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักปัญหา เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ พ.ศ.2566 19/11/2023 admin ยาวิพากษ์ฉบับที่ 53 : สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักปัญหา เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ พ.ศ.2566 ดาวน์โหลด เนื้อหาในเล่ม หน้า 2: ผู้จัดการ กพย. แถลง โดย ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี – ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) หน้า 4: เรื่องจากปก : สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ปี พ.ศ.2566 “เชื้อดื้อยา เพราะคนดื้อ” บทบาทของทุกคน รวมพลังยับยั้งเชื้อดื้อยา โดย ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี หน้า 12: ทันสถานการณ์ : การควบคุมทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาเชื้อดื้อยา พ.ศ. 2565-2566 โดย ผศ.ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ ศูนย์สารสนเทศทางยาและคุ้มครองผู้บริโภค คณะเภสัชศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ หน้า 15: หมุนดูโลก : เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในระบบอาหารและสิ่งแวดล้อม โดย ผศ.ดร.ภญ.อรกัญญ์ ภูมิโคกรักษ์ – นักวิชาการอิสระ หน้า 19: ไฮไลท์ 1 : แผนปฏิบัติการด้านการดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566-2570 โดย ดร.ภญ.นิธิมา สุ่มประดิษฐ์, ภญ.สิริมา ปุณณินท์, ภญ.นันทิยา สมเจตนากุล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หน้า 23: ไฮไลท์ 2 : การขับเคลื่อน World AMR Awareness Week (WAAW) 2023 ขององค์การอนามัยโลก และภาคี โดย อ.ภก.ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี คณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม/นักวิชาการ กพย. หน้า 28: จับกระแส 1: การใช้ยาปฏิชีวนะและยาปฏิชีวนะตกค้างในฟาร์มเลี้ยงปลานิลในจังหวัดพะเยา หลักฐานเบื้องต้นในประเทศไทย โดย ภญ.รุจิรา ปัญญา โรงพยาบาลดอกคำใต้ จ.พะเยา, รศ.ดร.ภญ.หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 34: จับกระแส 2: สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะเลี้ยงสัตว์ใน 5 จังหวัดเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย จันทร์จรีย์ ดอกบัว และคณะ โรงพยาบาลปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ หน้า 39: จับกระแส 3: สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์และการจำหน่ายยาปฏิชีวนะในร้านขายอาหารสัตว์ จ.ร้อยเอ็ด โดย ภญ.สุภาวดี เปล่งชัย โรงพยาบาลทุ่งเขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด หน้า 45: จับกระแส 4: สถานการณ์การใช้ยาต้านเชื้อจุลชีพในนาข้าวของเกษตรกรจังหวัดชัยนาท โดย ภญ.สุรางคณา ส่งศิริ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท หน้า 50: เก็บตก: เครือข่ายเยาวชนฯต่อสู้เชื้อดื้อยา อีกหนึ่งความหวังที่ช่วยสร้างความตระหนักในชุมชน โดย โชคดี สมิทธิ์กิตติผล ผู้จัดการแคมเปญระบบอาหาร องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก หน้า 53: เหลียวหลังแลหน้า : โครงการเสวนาเรื่องเชื้อดื้อยาในประเทศไทย โดย ทัศน์วรรณ ภูมิไชยโชติ, ดร.แก่นพงศ์ บุญถาวร แผนกจริยธรรมการวิจัยและงานเสริมสร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของมวลชนหน่วยวิจัยโรคเขตร้อนมหิดล-อ๊อกซ์ฟอร์ด (MORU) หน้า 57: เสียงสะท้อนจากพื้นที่ : การสำรวจความรอบรู้และความตระหนักในด้านการใช้ยาต้านจุลชีพและเชื้อดื้อยาของประชาชนไทย (An exploration of health literacy and awareness on antimicrobials usage and resistance in Thai citizen) โดย รศ. ภญ. ดร.สุญาณี พงษ์ธนานิกร และ ผศ. ภญ. ดร. สุนทรี วัชรดำรงกุล คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อ. ภก.พรหมพิริยะ ปิติรัตนวรนาท วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 59: แนะนำเว็บไซต์ โดย อ.ภก.ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี – คณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม/นักวิชาการ กพย.