เนื้อหาในเล่ม
- หน้า 2: ผู้จัดการ กพย. แถลง : ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี จัดการ กพย.
- หน้า 4: เรื่องจากปก : สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักใช้ยาต้านจุลชีพ พ.ศ.2565 : ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี
- หน้า 9: ทันสถานการณ์ : สถานการณ์เชื้อดื้อยาหลังการเริ่มระบาดของ COVID -19 : ผศ.ภญ.โชติรัตน์ นครานุรักษ์ ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- หน้า 13: หมุนดูโลก : สัปดาห์ความตระหนักรู้เรื่องยาต้านจุลชีพโลก พ.ศ. 2565 : ผศ.ดร.ภญ.อรกัญญ์ ภูมิโคกรักษ์ นักวิชาการอิสระ
- หน้า 17: ไฮไลท์ 1: ผลลัพธ์ของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2565 : ภญ.ดร.นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
- หน้า 21: ไฮไลท์ 2: การพัฒนาแผนปฏิบัติการส่งเสริมความรอบรู้ด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมแก่ประชาชน ระยะ 2 พ.ศ. 2566 – 2570 : มะลิ ไพฑูรย์เนรมิต ผู้อำนวยการสุขศึกษา กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
- หน้า 25: จับกระแส : เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสิ่งแวดล้อมและระบบอาหาร: สถานการณ์และระบบควบคุมการจัดการ ตอนที่ 1 ยาต้านจุลชีพในปศุสัตว์และประมง : อ.ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ ศูนย์สารสนเทศทางยาและคุ้มครองผู้บริโภค คณะเภสัชศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และ ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี
- หน้า 34: เก็บตก : สวัสดิภาพสัตว์ อีกหนึ่งต้นตอวิกฤติเชื้อดื้อยา ช่องว่างใน One Health ที่ยังถูกละเลย : โชคดี สมิทธิ์กิตติผล ผู้จัดการแคมเปญระบบอาหาร องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก (World Animal Protection)
- หน้า 37: เสียงสะท้อนจากพื้นที่ : การใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มคนเปราะบาง กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ภก.สันติ โฉมยงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- หน้า 39: แนะนำเว็บไซต์ : อ.ภก.ชินวัจน์ แสงอังศุมาลี อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม/นักวิชาการ กพย.